Self Care of Informal Caregivers Inventory (Thai)

Translated by:

Jom Suwanno, PhD, RN, FHEA

Associate Professor

Walailak University School of Nursing

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) sjom@wu.ac.th

Sittigorn Saiwutthikul, MNS, RN, CCRN

MICU, Critical & Intermediate Care Service,

University of Florida Health Shands Hospital–Jacksonville, FL, USA

(E-mail) sittigorn.saiwutthikul@jax.ufl.edu

Jindarat Somjainuek, PhD(C), RN, FHEA

Assistant Professor

Walailak University School of Nursing

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) jindarat.so@wu.ac.th

Naruebeth Koson MSN, RN

Boromrajonnani College of Nursing Nakhon Si Thammarat,

Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute,

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) naruebeth.ko@gmail.com

Ladda Thiamwong, PhD, RN, FAAN, FNAP

Florida Blue Endowed Professor for Healthy Communities, Professor

College of Nursing, University of Central Florida, Orlando, FL, USA

(E-mail) ladda.thiamwong@ucf.edu

แบบสอบถามการดูแลตนเองของญาติผู้ดูแล

เราจะเก็บคำตอบของท่านเป็นความลับ

 

ขอให้ท่านนึกถึงว่า ตัวเองเป็นอย่างไรบ้าง ในช่วงเวลาหนึ่งเดือนที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบันที่กำลังตอบข้อคำถามเหล่านี้

 

ส่วนที่ 1. การดูแลตนเองเพื่อให้คงสุขภาพดี

ญาติผู้ดูแลจะต้องปฏิบัติตัวอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้สุขภาพของตนเองดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งมีความสำคัญทั้งสำหรับตัวท่านเอง และการดูแลบุคคลที่ท่านรัก ดังนั้น ขอให้บอกว่า ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

 

 

 

ขอให้ทำวงกลมเลือกตัวเลขคำตอบเพียงข้อเดียว

 

 

ไม่ทำ

ทำนาน ๆ

ทำ   

ทำ

ทำ

ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

เลย

ครั้ง

บ้าง

บ่อย

ประจำ

1.

ท่านหมั่นดูแลสุขอนามัยของตัวเอง (เช่น อาบน้ำทำความสะอาดร่างกาย ดูแลช่องปากและฟัน ดูแลความสะอาดผิวหนัง ผม เล็บมือเล็บเท้า)

1

2

3

4

5

2.

ท่านออกแรงทำโน่นทำนี่อยู่เสมอ หรือออกกำลังกาย (เช่น เดินเร็วๆ เดินขึ้นบันได ทำงานบ้าน ทำงานใช้แรง ทำสวน เล่นกีฬา)

1

2

3

4

5

3.

ในแต่ละวัน ท่านกินอาหารมื้อสำคัญครบ (ทั้งมื้อเช้า      มื้อเที่ยง และมื้อเย็น)

1

2

3

4

5

4.

ท่านกินของที่ดีต่อสุขภาพ และปริมาณที่เหมาะสม       (กินอาหารหลากหลาย ประกอบด้วยเมล็ดธัญพืช ข้าวกล้อง โปรตีนที่ย่อยง่าย จำพวกปลา ไข่ กินผักผลไม้หลายอย่าง)

1

2

3

4

5

5.

ท่านดื่มน้ำสะอาดอย่างเพียงพอ (เช่น วันละไม่น้อยกว่า 6-8 แก้ว หรือไม่น้อยกว่าหนึ่งลิตรครึ่ง ถึงสองลิตร)

1

2

3

4

5

6.

ท่านรักษาวิถีการดำเนินชีวิตให้ปลอดจากควันบุหรี่ (เช่น  ไม่สูบบุหรี่ยาสูบ บุหรี่ไฟฟ้า หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ที่คนอื่นสูบ)

1

2

3

4

5

7.

ท่านหลีกเลี่ยงไม่ดื่มของมึนเมาเลย หรือดื่มบ้างในปริมาณที่พอเหมาะกับเพศของตนเอง (เช่น ผู้หญิงควรดื่มไม่เกิน 1 หน่วยบริโภคต่อวัน ส่วนผู้หญิงควรดื่มไม่กิน 2 หน่วยบริโภคต่อวัน)

1

2

3

4

5

8.

ท่านดูแลให้ตัวเองนอนหลับอย่างเพียงพอในเวลากลางคืน

1

2

3

4

5

9.

ท่านดูแลให้ตนเองได้รับยาหรืออาหารเสริม ตรงตามเวลา  ที่หมอสั่ง (เช่น ตั้งเวลาแจ้งเตือน)

1

2

3

4

5

10.

ท่านหาเวลาพักหยุดจากการดูแลผู้ป่วยบ้าง เพื่อไปทำสิ่ง   ที่ชอบ (เช่น พักผ่อน ดูทีวี อ่านหนังสือ ทำสมาธิ)

1

2

3

4

5

11.

ท่านติดต่อสมาคมกับเพื่อนฝูง และไปร่วมงานสังคม (เช่น งานเลี้ยง งานแต่ง งานพิธีทางศาสนา ไปเที่ยวกับเพื่อน) 

1

2

3

4

5

 

ส่วนที่ 2. การดูแลตนเองเพื่อเฝ้าระวังติดตามอาการ

การเฝ้าระวังติดตามสังเกตสุขภาวะของตนเอง มีความสำคัญต่อตัวท่านเองและการดูแลผู้อื่น ดังนั้น ขอให้บอกว่า ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

 

 

 

ขอให้ทำวงกลมเลือกตัวเลขคำตอบเพียงข้อเดียว

 

 

ไม่ทำ

ทำนาน ๆ

ทำ   

ทำ

ทำ

ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

เลย

ครั้ง

บ้าง

บ่อย

ประจำ

12.

ท่านเฝ้าติดตามสังเกตสุขภาพร่างกายของตนเองบ่อย     แค่ไหน

1

2

3

4

5

13.

ท่านเฝ้าติดตามสังเกตน้ำหนักของตนเอง (เช่น ชั่งน้ำหนัก สังเกตว่าเสื้อผ้าหลวมลงหรือคับขึ้น น้ำหนักลดหรือเพิ่มขึ้น)

1

2

3

4

5

14.

ท่านเฝ้าติดตามสังเกตพฤติกรรมการกินของตนเอง         ในแต่ละวัน (เช่น การกินที่ผิดปกติไปจากเดิม หิวบ่อยหรือเบื่ออาหาร)

1

2

3

4

5

15.

ท่านเอาใจใส่ต่อสภาพทางอารมณ์ของตนเอง (เช่น ตระหนักรู้ถึงความรู้สึกเศร้าใจ กังวลใจ ความรู้สึกผิด)

1

2

3

4

5

16.

ท่านเอาใจใส่ต่อสัญญาณเตือนของความรู้สึกถูกกดดัน  อย่างแรง (เช่น หงุดหงิดโมโหง่าย รำคาญใจ)

1

2

3

4

5

17.

ท่านเอาใจใส่ต่อสัญญาณเตือนของความเหนื่อยล้า (เช่น รู้สึกอ่อนเปลี้ยเพลียแรงอยู่ตลอดทั้งวัน)

1

2

3

4

5

18.

ท่านเอาใจใส่ต่อสัญญาณเตือนของอาการไม่สุขสบาย    ทางกายและจิตใจ (เช่น ปัญหาการนอน ปวดหลังปวดเอว ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดหัว หน้ามืดวิงเวียน)

1

2

3

4

5

 

ส่วนที่ 3. การดูแลตนเองเมื่อมีอาการผิดปกติ

การดูแลบุคคลที่รัก ถือเป็นหน้าที่ของท่านที่พึงปฏิบัติให้ลุล่วง อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งตัวท่านเอง อาจมีปัญหาและความยุ่งยากบ้าง ดังนั้น เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ดังกล่าว ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

 

 

 

ขอให้ทำวงกลมเลือกตัวเลขคำตอบเพียงข้อเดียว

 

 

ไม่ทำ

ทำนาน ๆ

ทำ

ทำ

ทำ

ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่อไปนี้ บ่อยแค่ไหน

เลย

ครั้ง

บ้าง

บ่อย

ประจำ

19.

ท่านปรับเปลี่ยนการดูแลผู้ป่วยให้เหมาะสมกับสภาพความพร้อมด้านร่างกายของตัวเอง (เช่น  ไม่ฝืนร่างกายเกินกำลัง หาช่วงเวลาพักเมื่อรู้สึกเหน็ดเหนื่อย) 

1

2

3

4

5

20.

ท่านหลีกเลี่ยงของกิน และเครื่องดื่มที่ไม่ดีต่อสุขภาพ     (เช่น ขนมซอง ของทอด อาหารจานด่วน ของกินแปรรูป      ขนมหวาน น้ำอัดลม ชาเย็น กาแฟเย็น น้ำหวาน)

1

2

3

4

5

21.

ท่านเพิ่มเวลาในการออกกำลังกายมากขึ้นและทำอย่างสม่ำเสมอ (เช่น เล่นกีฬา เดินออกกำลังกาย) 

1

2

3

4

5

22.

ท่านหาวิธีการปรับสภาพอารมณ์จิตใจของตนเองให้สงบสุข (เช่น ทำสมาธิ สวดมนต์ ฟังเพลง)

1

2

3

4

5

23.

ท่านพยายามปรับสมดุลชีวิตประจำวัน และหน้าที่การงาน ให้สอดคล้องกับการทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลผู้ป่วย

1

2

3

4

5

24.

ท่านสร้างนิสัยการนอนของตนเองให้ดีขึ้น (เช่น เข้านอนเป็นเวลา และจัดสถานที่นอนให้สบาย)

1

2

3

4

5

25.

ท่านขอคำปรึกษาจากทีมสุขภาพ หรือเป็นสมาชิกกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นสำหรับญาติผู้ดูแล (เช่น เข้าร่วมประชุมกลุ่มช่วยเหลือญาติผู้ดูแล)

1

2

3

4

5

26.

ท่านขอให้คนรอบข้างมาช่วยเหลือทำสิ่งต่าง ๆ แทนบ้าง (เช่น ช่วยดูแลผู้ป่วย ช่วยทำธุระ)

1

2

3

4

5

27.

ท่านยอมรับความช่วยเหลือจากผู้อื่น (เช่น คนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน เพื่อนฝูง อาสาสมัครชุมชน         ทีมเจ้าหน้าที่สุขภาพ ทีมดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย)

1

2

3

4

5

 

ขอขอบคุณที่ท่านตอบแบบสอบถามจนเสร็จ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Translation by:

 

Jom Suwanno, PhD, RN, FHEA

Associate Professor

Walailak University School of Nursing

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) sjom@wu.ac.th

 

Sittigorn Saiwutthikul, MNS, RN, CCRN

MICU, Critical & Intermediate Care Service,

University of Florida Health Shands Hospital�CJacksonville, FL, USA

(E-mail) sittigorn.saiwutthikul@jax.ufl.edu

 

Jindarat Somjainuek, PhD(C), RN, FHEA

Assistant Professor

Walailak University School of Nursing

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) jindarat.so@wu.ac.th

 

Naruebeth Koson MSN, RN

Boromrajonnani College of Nursing Nakhon Si Thammarat,

Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute,

Nakhon Si Thammarat, Thailand

(E-mail) naruebeth.ko@gmail.com

 

Ladda Thiamwong, PhD, RN, FAAN, FNAP

Florida Blue Endowed Professor for Healthy Communities, Professor

College of Nursing, University of Central Florida, Orlando, FL, USA

(E-mail) ladda.thiamwong@ucf.edu