Self-Care of Heart Failure Index Thai Version 8.0
Translate by
Naruebeth Koson
Master of Nursing Science Program in Adult Nursing
Doctoral Partner Name: Jom Suwanno
Doctoral Partner Institution:
Title: LecturerInstitution: Boromarajonani College of Nursing Nakhon Si Thammarat, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Nakhon Si Thammarat, Thailand
City: Nakhon Si Thammarat, TH
1
Thai SCHFI version 8.0_6-25-2025
แบบสอบถามการดูแลตนเองของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว
เวอร์ชั่น 8.0
(คำตอบทั้งหมดจะถูกเก็บเป็นความลับ)
ในขณะที่ตอบแบบสอบถามนี้ ขอให้ท่านนึกถึงว่าตนเองเป็นอย่างไรบ้างในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมา
ส่วนที่ 1:
ต่อไปนี้เป็นพฤติกรรมที่ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวใช้ในการดูแลตนเอง ท่านได้ปฏิบัติตัวทำสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้บ่อยแค่ไหน
ไม่ทำเลย ทำบ้าง ทำประจำ
1. ท่านพยายามป้องกันตนเองไม่ให้เจ็บป่วย (เช่น ล้างมือ
รับวัคซีนตามกำหนด สวมหน้ากากอนามัย)
1 2 3 4 5
2. ท่านไม่นั่ง ๆ นอน ๆ อยู่กับที่นานเกินไป (เช่น นั่งหน้าจอ
ทีวี จอมือถือ จอคอมพิวเตอร์)
1 2 3 4 5
3. ท่านกินอาการที่ดีต่อสุขภาพ และหลีกเลี่ยงของกินเค็ม ๆ
หรือของกินที่ใส่แกลือโซเดียมมาก
1 2 3 4 5
4. ท่านกินยาตามที่หมอสั่งให้อย่างครบถ้วนโดยไม่ขาดยาเลย
แม้แต่ครั้งเดียว
1 2 3 4 5
5. ท่านพักผ่อนอย่างเพียงพอและสมดุลกับการทำกิจกรรม
ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
1 2 3 4 5
6. ท่านดูแลตนเองให้นอนหลับอย่างเพียงพอ 1 2 3 4 5
7. ท่านใช้เครื่องมือหรือวิธีการเฉพาะเพื่อช่วยเตือนให้ไม่ลืม
กินยา (เช่น ใช้กล่องใส่ยา ตั้งนาฬิกาเตือน ตั้งเวลามือถือ)
1 2 3 4 5
8. ท่านดูแลสุขภาพจิตของตนเองให้ดีอยู่เสมอ (เช่น ฟังเพลง
ฝึกสมาธิ ทำโยคะ หรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต)
1 2 3 4 5
Thai SCHFI version 8.0_6-25-2025
2
ส่วนที่ 2.
ต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ ที่ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวควรเฝ้าระวังสังเกต ท่านได้ทำสิ่งเหล่านี้บ่อยแค่ไหน
ไม่ทำเลย ทำบ้าง ทำประจำ
9. ท่านคอยเฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวหรือ
อาการบวมที่ข้อเท้า
1 2 3 4 5
10. ท่านเอาใจใส่ต่อการเปลี่ยนแปลงที่รู้สึกผิดปกติไปจาก
เดิม (เช่น สภาพร่างกาย อารมณ์จิตใจที่แย่ลง)
1 2 3 4 5
11. ท่านเฝ้าสังเกตอาการข้างเคียงจากยาที่ใช้ 1 2 3 4 5
12. ท่านคอยตรวจสอบว่าตนเองมีอาการเหนื่อยง่ายกว่า
ปกติเมื่อทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
1 2 3 4 5
13. ท่านสอบถามหมอหรือพยาบาลเกี่ยวกับสภาพอาการ
ของท่านว่าดีขึ้นหรือแย่ลงอย่างไรบ้างหรือไม่
1 2 3 4 5
14. ท่านคอยสังเกตอาการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด
1 2 3 4 5
15. ท่านใส่ใจต่อสภาพอารมณ์และความเครียดของตนเอง
1 2 3 4 5
16. ท่านเฝ้าสังเกตอาการหายใจไม่สะดวกหรือเหนื่อยล้า
เมื่อทำกิจกรรมประจำวัน เช่น การอาบน้ำ การรแต่งตัว
1 2 3 4 5
ครั้งล่าสุดที่ท่านมีอาการต่าง ๆ นั้น….
(วงกลมเลือกหนึ่งคำตอบ)
ยังไม่เคยมี
อาการ
ฉันไม่รู้ว่าเป็น
อาการของ
โรคหัวใจ
ล้มเหลว
รู้ได้ช้า รู้ค่อนข้าง
เร็ว
รู้ได้เร็ว
มาก
ท่านสามารถรับรู้ได้เร็วแค่ไหนว่า
มีอาการผิดปกติเกิดขึ้นแล้ว
N/A 0 1 2 3 4 5
ท่านสามารถรู้ได้เร็วแค่ไหนว่า
อาการเหล่านั้นเกิดจากโรคหัวใจ
ล้มเหลว
N/A 0 1 2 3 4 5
Thai SCHFI version 8.0_6-25-2025
3
ส่วนที่ 3:
พฤติกรรมต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวมักใช้เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึ้น มีความเป็นไปได้แค่ไหนที่ท่านจะทำสิ่งต่อไปนี้
เมื่อมีอาการ
(วงกลมเลือกหนึ่งคำตอบ ในแต่ละพฤติกรรมที่ท่านจะทำ)
ไม่น่าจะทำ น่าจะทำบ้าง ทำอย่าง
แน่นอน
17. ท่านปรับเปลี่ยนสิ่งที่กินหรือดื่มในวันที่มีอาการ 1 2 3 4 5
18. ท่านทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อบรรเทาความเครียดหรือ
ความกังวลใจ (เช่น ทำสมาธิ ฟังเพลง สวดมนต์ ขอความ
ช่วยเหลือจากผู้อื่น)
1 2 3 4 5
19. ท่านใช้ยาช่วยบรรเทาอาการ 1 2 3 4 5
20. ท่านติดต่อขอคำแนะนำจากหมอหรือพยาบาล 1 2 3 4 5
21. ท่านขอคำปรึกษาจากคนในครอบครัวหรือเพื่อนๆ 1 2 3 4 5
22. ท่านปรับลดการทำกิจกรรมต่าง ๆ ลง จนกว่าจะรู้สึกดี
ขึ้น
1 2 3 4 5
ขอให้นึกถึงวิธีการที่ท่านเคยใช้เพื่อรักษาอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นครั้งล่าสุด… (วงกลมเลือกหนึ่งคำตอบ)
ฉันไม่ได้ทำ
อะไรเลย
ไม่ค่อย
ได้ผล
ค่อนข้าง
ได้ผล
ได้ผล
แน่นอน
23. วิธีการรักษาที่ใช้แล้วนั้น ได้ผลในการ
บรรเทาอาการให้ดีขึ้นหรือไม่
0 1 2 3 4 5
ขอขอบคุณท่านที่ตอบแบบสอบถามจนครบถ้วน
Thai SCHFI version 8.0_6-25-2025
4
Translation by:
Naruebeth Koson MNS, RN
Boromrajonnani College of Nursing Nakhon Si Thammarat,
Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute,
Nakhon Si Thammarat, Thailand
(E-mail) naruebeth@bcnnakhon.ac.th
Jom Suwanno, PhD, RN, FHEA
Associate Professor
Walailak University School of Nursing
Nakhon Si Thammarat, Thailand
(E-mail) sjom@wu.ac.th
Sittigorn Saiwutthikul, MNS, RN, CCRN
MICU, Critical & Intermediate Care Service,
University of Florida Health Shands Hospital–Jacksonville, FL, USA
(E-mail) sittigorn.saiwutthikul@jax.ufl.edu
Ladda Thiamwong, PhD, RN, FAAN, FNAP
Florida Blue Endowed Professor for Healthy Communities, Professor
College of Nursing, University of Central Florida, Orlando, FL, USA
(E-mail) ladda.thiamwong@ucf.edu