CC-SCHFI V2 (Thai)

Translated by

Autchariya Poungkaew

Medical Nursing Department

Faculty of Nursing, Mahidol University

Thailand

Email: ajchariya.pon@mahidol.ac.th

การสนับสนุนการดูแลตนเองในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวของผู้ดูแล

คำตอบของท่านทั้งหมดจะถูกเก็บเป็นความลับ

 

ขอให้ท่านตอบคำถามต่อไปนี้เพื่อให้เราทราบว่าท่านทำอะไรให้กับบุคคลที่มีหัวใจล้มเหลว ไม่มีคำตอบที่ถูกหรือผิด

 

ส่วนที่ 1 :

ท่านได้แนะนำบุคคลที่ท่านดูแลในสิ่งต่างๆ เหล่านี้บ่อยเพียงใด

หรือท่านทำสิ่งต่างๆ เหล่านี้แทนเนื่องจากบุคคลที่ท่านดูแลไม่สามารถทำได้บ่อยเพียงใด

(โปรดวงกลมเพียงหนึ่งหมายเลขในแต่ละข้อ )

ไม่เคย

บางครั้ง

เป็นประจำ

1. พยายามหลีกเลี่ยงการเจ็บป่วย (เช่น การล้างมือ เป็นต้น)

1

2

3

4

5

2. ออกกำลังกายระหว่างวัน (เช่น การเดินเร็ว, การเดิน

ขึ้นบันได เป็นต้น)

1

2

3

4

5

3. รับประทานอาหารที่มีเกลือต่ำ

1

2

3

4

5

4. พบบุคลากรทางสุขภาพตรงตามนัดเป็นประจำ

1

2

3

4

5

5. รับประทานยาตามแผนการรักษาโดยไม่ลืม

1

2

3

4

5

6. สั่งอาหารที่มีเกลือต่ำ เมื่อออกไปรับประทานอาหาร

นอกบ้าน

1

2

3

4

5

7. มั่นใจว่าได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่เป็นประจำ

ทุกปี

1

2

3

4

5

8. ขออาหารที่มีเกลือต่ำเมื่อไปเยี่ยมครอบครัวและเพื่อน

1

2

3

4

5

9. ใช้ระบบหรือวิธีการในการช่วยจำการรับประทานยา

1

2

3

4

5

10. สอบถามเรื่องยากับบุคลากรทางสุขภาพ

1

2

3

4

5

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนที่ 2 :

การเปลี่ยนแปลงที่ระบุด้านล่างเป็นสิ่งที่บุคคลที่มีหัวใจล้มเหลวใช้เพื่อการติดตามอาการของตนเอง                            

ท่านแนะนำให้บุคคลที่ท่านดูแลทำสิ่งต่อไปนี้บ่อยแค่ไหน

หรือท่านทำสิ่งต่างๆ เหล่านี้แทน เนื่องจากบุคคลที่ท่านดูแลไม่สามารถทำได้ บ่อยเพียงใด

(โปรดวงกลมเพียงหนึ่งหมายเลข ในแต่ละข้อ )

ไม่เคย

บางครั้ง

เป็นประจำ

11. ติดตามน้ำหนักตัวทุกวัน

1

2

3

4

5

12. ให้ความสนใจต่อการเปลี่ยนแปลงความรู้สึกของเขา/เธอ

1

2

3

4

5

13. เฝ้าระวังผลข้างเคียงของยา

1

2

3

4

5

14. สังเกตว่าเขา/เธอ เหนื่อยมากขึ้นหรือไม่  เมื่อทำกิจกรรมตามปกติ

1

2

3

4

5

15. สอบถามบุคลากรทางสุขภาพว่า สุขภาพของเขา/เธอ

เป็นอย่างไร

1

2

3

4

5

16. เฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงอาการอย่างใกล้ชิด

1

2

3

4

5

17. ตรวจสอบอาการข้อเท้าบวม

1

2

3

4

5

18. ตรวจสอบอาการหายใจเหนื่อยขณะทำกิจกรรม

เช่น การอาบน้ำ และการแต่งตัว เป็นต้น

1

2

3

4

5

19. จดบันทึกอาการที่เกิดขึ้น

1

2

3

4

5

 

ครั้งสุดท้ายที่บุคคลที่ท่านดูแลมีอาการ.............................

(โปรดวงกลมเพียงหนึ่งหมายเลขในแต่ละข้อ)

บุคคลที่ดูแล

ไม่มีอาการ

ไม่รับรู้อาการ

รับรู้อาการไม่เร็ว

รับรู้อาการค่อนข้างเร็ว

รับรู้อาการเร็วมาก

20. ท่านรับรู้ถึงอาการที่เกิดขึ้นกับเขา/เธอ

ได้เร็วเพียงใด

ไม่ประเมิน

0

1

2

3

4

5

21. ท่านรับรู้ได้เร็วเพียงใดว่าอาการ         ที่เกิดขึ้นเกิดจากหัวใจล้มเหลว

ไม่ประเมิน

0

1

2

3

4

5

ส่วนที่ 3 :

พฤติกรรมที่ระบุด้านล่างนี้เป็นวิธีที่บุคคลที่มีหัวใจล้มเหลวใช้ในการควบคุมอาการ เมื่อบุคคลที่ท่านดูแลมีอาการ   ท่านแนะนำให้เขา/เธอ ใช้วิธีการต่อไปนี้หรือไม่   

หรือท่านทำสิ่งเหล่านี้เนื่องจากบุคคลที่ท่านดูแลไม่สามารถทำได้หรือไม่

(โปรดวงกลมเพียงหนึ่งหมายเลข สำหรับแต่ละวิธีรักษา)

ไม่เลย

บางครั้ง

สม่ำเสมอ

22. จำกัดปริมาณเกลือ น้ำปลา หรือเครื่องปรุงที่มีรสเค็ม

ในอาหารที่เขา/เธอ รับประทานในวันนั้น

1

2

3

4

5

23. ลดปริมาณน้ำดื่มและของเหลวอื่นๆ

(เช่น เครื่องดื่มต่างๆ น้ำแกง เป็นต้น)

1

2

3

4

5

24. รับประทานยา

1

2

3

4

5

25. โทรศัพท์ขอคำแนะนำจากบุคลากรทางสุขภาพ

1

2

3

4

5

26. ขอคำแนะนำจากสมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อน

1

2

3

4

5

27. พยายามหาสาเหตุที่ทำให้เขา/เธอ มีอาการ

1

2

3

4

5

28. แนะนำให้เขา/เธอ จำกัดกิจกรรมจนกว่าเขา/เธอ

จะรู้สึกดีขึ้น

1

2

3

4

5

 

คิดถึงสิ่งที่ท่านทำครั้งสุดท้ายเมื่อบุคคลที่ท่านดูแลมีอาการ................ 

(โปรดวงกลมเพียงหนึ่งหมายเลข ในแต่ละข้อ)

ไม่ได้ทำอะไร

ไม่แน่ใจ

ค่อนข้างแน่ใจ

แน่ใจมากที่สุด

29.วิธีจัดการที่ท่านใช้ ทำให้เขา/เธอ รู้สึกดีขึ้น

0

1

2

3

4

5