CC-SC-CII (Thai)

Translated by

Jom Suwanno, PhD, RN, FHEA

Associate Professor

Chair of Graduate Nursing Studies,
Master of Nursing Science Program in Adult and Gerontological Nursing
Walailak University School of Nursing
222 Thaiburi, Tasala, Nakhon Si Thammarat 80160 THAILAND
(W) +66 7567 2101
(Mobile) +66 96647 1864
(Fax) +66 7567 2103
(Email) sjom@gmail.com

(Email) jomsuwanno@gmail.com 

การมีส่วนร่วมของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

Thai version of Caregiver Contribution to Self-Care of Chronic Illness, Version 2

(คำตอบของท่านจะเก็บเป็นความลับ)

 

ขอให้นึกถึงสิ่งต่างๆ ที่ท่านทำ ในการดูแลช่วยเหลือคนไข้ของท่าน เพื่อรักษาสุขภาพ และโรคที่เป็น

ในช่วงเวลาหนึ่งเดือนที่ผ่านมา หรือจนถึงขณะที่เรากำลังถามข้อคำถามกันอยู่นี้

 

ส่วนที่ 1

ข้อต่อไปนี้เป็นการดูแลตนเอง ที่คนป่วยโรคเรื้อรัง ควรทำอย่างสม่ำเสมอ เราอยากทราบว่า ท่านได้ให้การดูแลช่วยเหลือคนไข้ ในด้านต่างๆ เหล่านี้ เป็นประจำหรือไม่ ทำบ่อยแค่ไหน?

 

 

 

(ขอให้ท่านทำวงกลม เลือกคำตอบเพียงหนึ่งข้อ)

 

 

ไม่ได้ทำ

ทำ

ทำ

ทำ

ทำ

 

 

ทำเลย

นานๆ ครั้ง

บ้าง

บ่อย

ประจำ

1.

ท่านคอยดูแลให้แน่ใจว่าคนไข้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอ

1

2

3

4

5

2.

ท่านคอยดูแลระมัดระวังไม่ให้เขาเจ็บไข้ ไม่สบาย (เช่น ดูแลให้ฉีดวัคซีน ล้างมือ ผูกมาสก์ปิดปากปิดจมูก อยู่ให้ห่างๆจากคนป่วย เว้นระยะห่างจากผู้อื่น)

1

2

3

4

5

3.

ท่านคอยดูแลให้คนไข้ออกแรงทำโน่น��� ทำนี่อยู่เสมอ หรือออกกำลังกายเท่าที่�� ทำได้ (เช่น เดินออกกำลังกาย���������� เดินขึ้นบันได ทำงานบ้าน ทำงานใช้แรง ทำกิจวัตรประจำวันเท่าที่ทำได้���������� ฝึกกายภาพบำบัด)

1

2

3

4

5

4.

ท่านคอยดูแลด้านอาหารการกิน ให้กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ กินอาหารเฉพาะโรค หลีกเลี่ยงอาหารแสลงโรค (เช่น ให้กินผักและผลไม้หลากหลาย กินของไม่เค็ม หลีกเลี่ยงของมัน หลีกเลี่ยงของหวาน)

1

2

3

4

5

5.

ท่านคอยดูแลให้คนไข้ไปตรวจติดตามรักษาโรคเป็นประจำ และตรงตามวันนัด

1

2

3

4

5

6.

ท่านคอยดูแลให้คนไข้ได้รับยาทุกชนิดครบถ้วนตามแผนการรักษา ตรงตามเวลา ไม่ขาดยา (ไม่ว่าจะเป็นยากิน ยาฉีด �����ยาสูดพ่น ยาใช้ภายนอก)

1

2

3

4

5

7.

ท่านคอยดูแลด้านจิตใจให้สบาย �������ไม่ให้เครียด หรือคิดมากเกิน (เช่น ������ทำกิจกรรมที่สนุกเพลิดเพลิน ทำบุญ สวดบูชา ฝึกสมาธิ ร่วมพิธีทางศาสนา ���������ปรึกษาคนอื่น ทำใจให้ยอมรับ)���

1

2

3

4

5

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนที่ 2

คนป่วยโรคเรื้อรัง ควรสังเกตติดตามอาการผิดปกติ หรือสังเกตความเจ็บป่วยของตนเอง รวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ และความรู้สึกนึกคิด

ดังนั้น เราอยากทราบว่า ท่านได้ให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างไรบ้างในการเฝ้าระวังสังเกตอาการ

 

 

 

(ขอให้ท่านทำวงกลม เลือกคำตอบเพียงหนึ่งข้อ)

 

 

ไม่ได้ทำ

ทำ

ทำ

ทำ

ทำ

 

 

เลย

นานๆ ครั้ง

บ้าง

บ่อย

ประจำ

8.

ท่านคอยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกาย อารมณ์จิตใจ และความรู้สึกนึกคิดของคนไข้ว่าผิดปกติไปจากเดิมหรือไม่

1

2

3

4

5

9.

ท่านคอยสังเกตอาการข้างเคียงจากยาทุกชนิดที่คนไข้ได้รับ (ไม่ว่าจะเป็นยากิน ยาฉีด ยาสูดพ่น หรือยาภายนอก)

1

2

3

4

5

10.

ท่านเอาใจใส่ไม่เพิกเฉย เมื่อคนไข้รู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงผิดปกติในร่างกายอารมณ์จิตใจ หรือความรู้สึกนึกคิด

1

2

3

4

5

11.

ท่านคอยสังเกตว่าคนไข้ มีอาการเหนื่อยง่ายกว่าเดิมหรือไม่ เมื่อออกแรงทำโน่นทำนี่ตามปกติ

1

2

3

4

5

12.

ท่านเอาใจใส่คอยสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับคนไข้

1

2

3

4

5

 

 

 

การจำแนกอาการ

คนป่วยโรคเรื้อรังจำนวนมาก มีอาการหลายอย่างเกิดขึ้นเนื่องจากควบคุมโรคไม่ได้ (เช่น ปวด เหนื่อยหอบ ใจสั่น แน่นหน้าอก หน้ามืด วิงเวียน ไอ บวมน้ำ อ่อนเปลี้ยเพลียแรง เลือดออกง่าย) หรืออาการแย่ลง (เช่น อาการกำเริบรุนแรงขึ้น ค่าความดันโลหิตสูงขึ้นกว่าเดิม ค่าน้ำตาลในเลือดต่ำ ค่าน้ำตาลในเลือดสูงกว่าเดิม) รวมถึงอาจจะมีอาการอื่นๆ ที่เกิดจากผลข้างเคียงของยา หรืออาการแทรกซ้อนจากการรักษา

 

13.

เราอยากทราบว่า ครั้งล่าสุดที่คนไข้มีอาการผิดปกติเกิดขึ้นนั้น ท่านใช้เวลาเร็วแค่ไหน

กว่าจะ นึกรู้ขึ้นได้ ว่า เป็นอาการที่เกี่ยวข้องกับโรคที่เขาเป็นอยู่

 

 

[�� ��] คนไข้ไม่เคยมีอาการ (หากเลือกข้อนี้ ขอให้ท่านไปตอบคำถามส่วนที่ 3 ต่อไป)

 

 

[�� ��] คนไข้มีอาการ แต่ฉันไม่ได้นึกรู้ ว่าเป็นอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความเจ็บป่วยที่เป็นอยู่

 

 

[�� ��] คนไข้มีอาการ และ ฉันนึกรู้ขึ้นได้ ว่าเป็นอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความเจ็บป่วยของเขา

 

 

������ ท่านรู้ได้เร็วแค่ไหน (ขอให้ทำวงกลมเลือกคำตอบ)

 

 

 

[�� ��] 1. ช้ามาก

 

 

 

[�� ��] 2. ค่อนข้างช้า

 

 

 

[�� ��] 3. ค่อนข้างเร็ว

 

 

 

[�� ��] 4. เร็วมาก

 

 

 

[�� ��] 5. เร็วทันที

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนที่ 3

ข้อต่อไปนี้ เป็นสิ่งที่คนป่วยโรคเรื้อรัง ควรกระทำเพื่อบรรเทาอาการ เราอยากทราบว่า เมื่อคนไข้ของท่านมีอาการไม่สุขสบาย อาการแย่ลง หรือกำเริบท่านพยายามให้การดูแลช่วยเหลือด้วยวิธีการต่าง ๆ ต่อไปนี้ มากน้อยแค่ไหน

 

 

 

(ขอให้ท่านทำวงกลม เลือกคำตอบเพียงหนึ่งข้อ)

 

 

ไม่ได้ใช้

ใช้

ใช้

ทำ

ใช้

 

 

เลย

นานๆ ครั้ง

บางครั้ง

บ่อย

ประจำ

14.

ท่านช่วยเหลือโดยให้ปรับเปลี่ยนอาหารการกินหรือเครื่องดื่ม ที่ช่วยทำให้อาการบรรเทาลง หรือให้หายจากอาการนั้น (เช่น ลดของเค็ม จำกัดปริมาณน้ำและเครื่องดื่ม เปลี่ยนของกิน ลดของหวาน)

1

2

3

4

5

15.

ท่านช่วยเหลือโดยให้ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการออกแรง ให้ทำกิจกรรมที่เหมาะสมตามสภาพ (เช่น ให้ค่อยๆ ทำอย่างช้าๆหยุดพักเป็นช่วงๆ)

1

2

3

4

5

16.

ท่านช่วยเหลือโดยการใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการ หรือให้หายจากอาการนั้น

1

2

3

4

5

17.

ท่านเตือนให้คนไข้แจ้งแก่ผู้ให้การรักษา (หมอหรือพยาบาล) ได้ทราบเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น เมื่อไปตรวจรักษาตามวันนัด หรือท่านเป็นผู้แจ้งเอง

1

2

3

4

5

18.

ท่านติดต่อขอคำแนะนำจากผู้ให้การรักษา (หมอหรือพยาบาล) หรือโรงพยาบาล หรือคลินิกที่รักษาคนไข้ของท่าน

1

2

3

4

5

 

 

(ขอให้ท่านทำวงกลม เลือกคำตอบเพียงหนึ่งข้อ)

19.

ขอให้นึกถึงวิธีการต่าง ๆ ที่ท่านใช้ในการบรรเทาอาการ เมื่อครั้งล่าสุด

ฉันไม่ทำ

ไม่ดีขึ้น

ดีขึ้น

ดีขึ้น

ดีขึ้น

ดีขึ้น

 

อะไรเลย

เลย

เล็กน้อย

พอควร

มาก

แน่นอน

 

เราอยากรู้ว่า วิธีการต่างๆ ที่ท่านทำแล้วนั้น ได้ผลดีมากน้อยแค่ไหน ในการบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย

0

1

2

3

4

5

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

��������

 

ความมั่นใจของญาติผู้ดูแลในการมีส่วนร่วมดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

Thai version of Caregiver Self-Efficacy in Contributing to Patients Self-Care

(คำตอบของท่านจะเก็บเป็นความลับ)

 

เราอยากทราบว่า โดยรวมๆ แล้ว ตัวท่านมีความมั่นใจมากน้อยแค่ไหน เกี่ยวกับความสามารถของตนเอง

ในการช่วยเหลือดูแลคนไข้ของท่าน ในสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้

 

 

 

(ขอให้ท่านทำวงกลม เลือกคำตอบเพียงหนึ่งข้อ)

 

 

ไม่มั่นใจ

มั่นใจ

ค่อนข้าง

มั่นใจ

มั่นใจ

 

 

เลย

เล็กน้อย

มั่นใจ

มาก

ที่สุด

1.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในการช่วยเหลือดูแลไม่ให้สภาพของโรคแย่ลง และไม่ให้เกิดอาการกำเริบ

1

2

3

4

5

2.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในการช่วยเหลือดูแลให้คนไข้ปฏิบัติตัวตามแผนการรักษาที่ได้รับ

1

2

3

4

5

3.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในการช่วยเหลือดูแลให้คนไข้ปฏิบัติตัวอย่างเคร่งครัดตามแผนการรักษาที่ได้รับ ไม่ว่าจะยุ่งยากเพียงใดก็ตาม

1

2

3

4

5

4.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ว่าตนเองสามารถ����� เฝ้าสังเกตติดตามสภาพร่างกาย และอารมณ์จิตใจของคนไข้ได้อย่างสม่ำเสมอ

1

2

3

4

5

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ว่าตนเองสามารถปฏิบัติได้อย่างเคร่งครัดในการเฝ้าสังเกตติดตามสภาพร่างกาย และอารมณ์จิตใจของคนไข้ ไม่ว่าจะยุ่งยากเพียงใดก็ตาม

1

2

3

4

5

6.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ว่าตนเองสามารถตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับสุขภาพของคนไข้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแย่ลง

1

2

3

4

5

7.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในความสามารถของตนเองที่จะประเมินได้ถึงความเร่งด่วนของอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับคนไข้

1

2

3

4

5

8.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในความสามารถของตนเองที่จะทำบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้อาการของคนไข้ บรรเทาลงได้

1

2

3

4

5

9.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ว่าตนเองยังคงสามารถหาวิธีการต่างๆ ในการบรรเทาอาการของคนไข้ได้ ไม่ว่าจะยุ่งยากเพียงใดก็ตาม

1

2

3

4

5

10.

ท่านมั่นใจแค่ไหน ในการประเมินผล�����ว่าวิธีการช่วยเหลือดูแลที่ทำอยู่นี้ ดีหรือไม่ดีสำหรับคนไข้

1

2

3

4

5

Translated by

 

Jom Suwanno, PhD, RN, FHEA

Associate Professor

Walailak University School of Nursing
222 Thaiburi, Tasala, Nakhon Si Thammarat 80160 Thailand
(W) +66 7567 2101 (Fax) +66-7567 2103
(E-mail) 
sjom@wu.ac.th
(E-mail) 
jomsuwanno@wu.ac.th

 

 

 

Sadee Saithong Hamilton, PhD, RN

Lecturer

Boromarajonani College of Nursing Sanpasithiprasong

224 Phon Pan, Muang District, Ubon Ratchathani, 34000 Thailand

(W) +66 4525 5462

E-mail: sadee@bcnsp.ac.th